f
title
แขวงทางหลวงกาญจนบุรี
KANCHANABURI HIGHWAY DISTRICT
วิสัยทัศน์ : บำรุงรักษาทางหลวงให้มีความสะดวก สะอาด ปลอดภัย เพื่อความพึงพอใจของผู้ใช้ทาง
ข้อมูลข่าว
ค้นหา
ลำดับ วันที่ ภาพหน้าปก หัวข้อข่าว
76 26/09/2566 วันที่ 24 กันยายน 2566 นายแสงทอง พาแก้ว ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงกาญจนบุรี ร่วมกับ นายจิรวัฒน์ ทรงผาสุก ผู้อำนวยการสำนักงานทางหลวงที่ 12 (สุพรรณบุรี) ร้อยโท ทศพล ไชยโกมินทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ข้าราชการ หน่วยงานในจังหวัดกาญจนบุรีและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องให้การต้อนรับ นายสุรพงษ์ ปิยะโชติ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในโอกาสการเดินทางมาตรวจราชการในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อตรวจติดตามโครงการ รับฟังสภาพปัญหา และข้อเสนอแนะ ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี
77 26/09/2566 วันที่ 24 กันยายน 2566 นายแสงทอง พาแก้ว ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงกาญจนบุรี ร่วมกับ นายจิรวัฒน์ ทรงผาสุก ผู้อำนวยการสำนักงานทางหลวงที่ 12 (สุพรรณบุรี) ร้อยโท ทศพล ไชยโกมินทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ข้าราชการ หน่วยงานในจังหวัดกาญจนบุรีและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องให้การต้อนรับ นายสุรพงษ์ ปิยะโชติ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในโอกาสการเดินทางมาตรวจราชการในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี
78 25/09/2566 ขอให้บัณฑิตทั้งหลายอย่าประมาทหลงผิด คิดว่าเมื่อมีปริญญาแปลว่ามีความรู้มากพอแล้ว ก่อให้เกิดทิฐิมานะ ว่าเป็นคนเก่งหรือคนดีกว่าคนอื่น ความนึกคิดเช่นนี้จัดเป็นกิเลสอันร้ายกาจอย่างหนึ่งซึ่งจัดนำพาความเสื่อมมาสู่ตนและสังคมส่วนรวม
79 25/09/2566 ปัญหาชีวิตของผู้คนในสังคมปัจจุบันจำนวนไม่น้อย มีมูลเหตุจากความมักง่ายใคร่ได้ในทางลัด ปรารถนาจะประสบผลสำเร็จโดยเร็ว ทั้งที่ไม่ประกอบความพากเพียรในกิจอันสุจริต มักท้อถอย เพิกถอนตนออกจากการศึกษาหรือภารกิจการงานอันดี เพราะไม่มีความเพียรเป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งตนให้อดทนสู้จนบรรลุสัมฤทธิผล ท้ายที่สุดจึงเป็นคนหลักลอย ไม่จริงจังกับกิจการใดเป็นหลักฐานได้นาน จนอาจหลงพลาดไปสู่ทางผิด ทั้งในระดับศีลธรรมและระดับกฎหมายบ้านเมือง
80 24/09/2566 ความรู้ที่เกิดจากบุคคลผู้มีกายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริตย่อมไม่เรียกว่าปัญญา เพราะปัญญาคือความรอบรู้และความเข้าใจในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์
81 20/09/2566 วันที่ 20 ก.ย. 2566 แขวงทางหลวงกาญจนบุรี รณรงค์แต่งกายด้วยผ้าไทยเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย เป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของไทย สร้างค่านิยมและการตระหนักรับรู้การรักษามรดกและอัตลักษณ์ภูมิปัญญาของไทย
82 19/09/2566 การทำงานทุกระดับและทุกประเภทตลอดจนการดำเนินชีวิตของผู้มีปัญญา จำเป็นต้องอาศัยความอดทนอดกลั้นเป็นพื้นฐานที่จะต่อยอดไปสู่ผลสำเร็จของภารกิจหรือเป้าหมายในชีวิตส่งตามความมุ่งมาดปรารถนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อบุคคลต้องอยู่รวมกันเป็นหมู่คณะ สถาบัน องค์กร ไปจนถึงสังคมประเทศชาติยิ่งจำเป็นต้องเพิ่มพูนความอดทนอดกลั้นให้เจริญงอกงามในอัธยาศัยเพื่อให้สามารถระงับมูลเหตุอันอาจบานปลายไปสู่ความแตกแยกร้าวฉาน
83 13/09/2566 วันที่ 13 ก.ย. 2566 แขวงทางหลวงกาญจนบุรี รณรงค์แต่งกายด้วยผ้าไทยเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย เป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของไทย สร้างค่านิยมและการตระหนักรับรู้การรักษามรดกและอัตลักษณ์ภูมิปัญญาของไทย
84 11/09/2566 ตามประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาปรากฏหลักฐานในพระไตรปิฎกกล่าวถึงครูแพทย์ในสมัยพุทธกาลท่านหนึ่งมีนามว่า "ชีวกโกมารภัจจ์ " ผู้เป็นทั้งแพทย์หลวง แพทย์ประจำพระพุทธองค์ ขณะเดียวกันก็ยังเป็นแพทย์ผู้เอื้อเฟื้อดูแลประชาชนด้วย
85 06/09/2566 วันที่ 6 ก.ย. 2566 แขวงทางหลวงกาญจนบุรี รณรงค์แต่งกายด้วยผ้าไทยเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย เป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของไทย สร้างค่านิยมและการตระหนักรับรู้การรักษามรดกและอัตลักษณ์ภูมิปัญญาของไทย
86 04/09/2566 ความเป็นผู้ใหญ่ไม่ได้วัดอยู่แค่การเกิดก่อน และไม่ได้วัดกันที่การมีตำแหน่งใหญ่โตกว่าใคร ๆ แต่เพียงเท่านั้น หากแต่ความเป็นผู้ใหญ่สำหรับสังคมที่เจริญแล้ว ต้องนับถือกันที่ “ปัญญา”
87 04/09/2566 ผู้มีปัญญารอบรู้ คือรู้ทางเสื่อม รู้ทางเจริญ รู้วิธีจะทำตนให้พ้นความเสื่อม และรู้เท่าทันเหตุการณ์ต่าง ๆ ย่อมตั้งตนอยู่บนหนทางแห่งความเจริญ
88 03/09/2566 “พึงเพิ่มพูนความเสียสละ” ให้ได้อย่างสม่ำเสมอ ความเสียสละ ย่อมนำไปสู่ความละคลายจากต้นเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง
89 03/09/2566 การสวดมนต์ เป็นบุญกิริยาที่เป็นประเพณีปฏิบัติของชนทั้งหลายมาช้านาน แต่ละศาสนา นิกาย หรือลัทธิ ล้วนมีคติแห่งการสวดมนต์ที่ต่างกันไป แต่ประโยชน์ที่ได้รับตรงกันคือจิตใจอันสงบเป็นสมาธิแน่วแน่
90 03/09/2566 ธรรมดาของการอยู่ร่วมกัน หรือทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะบุคคลย่อมมีความคิดเห็นแตกต่างกัน ตามพื้นฐานจิตใจ และประสบการณ์ที่ขัดเกลาบุคคลแต่ละคนมาแตกต่างกัน ผู้ไม่มีคุณธรรมหนักแน่นมั่นคงในใจเพียงพอ ย่อมเห็นว่าความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากตนนั้นเป็นความผิด เป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ อาจจะนำไปสู่การวิวาท วิธีระงับความบาดหมาง คือ ขอให้ทุกคนมีขันติและเมตตา